The share
วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554
หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผลคืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ
หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)
หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทำงานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็หายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ แต่ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เพื่อให้สามารถนำมาใช้งานในภายหลัง หน่วยแสดงผลที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ คือ
จอภาพ (Monitor)
ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที มีรูปร่างคล้ายจอภาพของโทรทัศน์ บนจอภาพประกอบด้วยจุดจำนวนมาก เรียกจุดเหล่านั้นว่า พิกเซล (Pixel) ถ้ามีพิกเซลจำนวนมากก็จะทำให้ผู้ใช้มองเห็นภาพบนจอได้ชัดเจนมากขึ้น จอภาพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
เป็นหน่วยทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)
แป้นพิมพ์ (Keyboard)
เป็นหน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะเป็นอุปกรณ์มาตรฐานในการป้อนข้อมูลสำหรับเทอร์มินัล และไมโครคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีลักษ
ณะคล้ายแป้นของเครื่องพิมพ์ดีด แต่มีจำนวนแป้นมากก
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
อุทยานเเห่งชาติขุนสถาน
ปี พ.ศ.2541 ศูนย์อุทยานแห่งชาติจังหวัดน่านในขณะนั้น ซึ่งประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติจำนวน 6 แห่ง มีความเห็นร่วมกันว่าพื้นที่ป่าบริเวณเขตติดต่อจังหวัดน่าน จังหวัดแพร่ และจังหวัดอุตรดิตถ์ มีพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เห็นควรได้รับการสำรวจพื้นที่เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ในขณะนั้นจึงได้มีคำสั่งให้นายวิโรจน์ โรจนจินดา เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 มาทำการสำรวจพื้นที่เพื่อดำเนินการดังกล่าว จากการสำรวจพบว่าพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ ในท้องที่ตำบลน้ำตก ตำบลบัวใหญ่ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย ตำบลเมืองลี ตำบลบ่อแก้ว ตำบลนาทะนุง ตำบลปิงหลวง อำเภอนาหมื่น พื้นที่ประมาณ 262,000 ไร่ มีความเหมาะสมที่จะกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติขุนสถาน กรมฯ จึงได้มีคำสั่งให้นายวิโรจน์ฯ ทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติขุนสถาน และมีที่ตั้งที่ทำการชั่วคราว ณ หมู่ที่ 3 บ้านขุนสถาน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน และต่อมา ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2548 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มีคำสั่งให้นายฉัตรชัย โยธาวุธ เจ้าหน้าที่บริหารงานป่าไม้ 6 มาทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติขุนสถาน จนถึงปัจจุปัน
ขณะนี้อุทยานแห่งชาติขุนสถาน อยู่ในขั้นตอนการจัดพิมพ์แผนที่ท้ายร่างพระราชกฤษฏีกา เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ ซึ่งหากเห็นชอบ สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นำร่างขึ้นทูลเกล้าในหลวงเพื่อลงพระปรมาภิไธย ประกาศเป็นกฏหมายต่อไป
ปี พ.ศ.2541 ศูนย์อุทยานแห่งชาติจังหวัดน่านในขณะนั้น ซึ่งประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติจำนวน 6 แห่ง มีความเห็นร่วมกันว่าพื้นที่ป่าบริเวณเขตติดต่อจังหวัดน่าน จังหวัดแพร่ และจังหวัดอุตรดิตถ์ มีพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เห็นควรได้รับการสำรวจพื้นที่เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ในขณะนั้นจึงได้มีคำสั่งให้นายวิโรจน์ โรจนจินดา เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 มาทำการสำรวจพื้นที่เพื่อดำเนินการดังกล่าว จากการสำรวจพบว่าพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ ในท้องที่ตำบลน้ำตก ตำบลบัวใหญ่ ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย ตำบลเมืองลี ตำบลบ่อแก้ว ตำบลนาทะนุง ตำบลปิงหลวง อำเภอนาหมื่น พื้นที่ประมาณ 262,000 ไร่ มีความเหมาะสมที่จะกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติขุนสถาน กรมฯ จึงได้มีคำสั่งให้นายวิโรจน์ฯ ทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติขุนสถาน และมีที่ตั้งที่ทำการชั่วคราว ณ หมู่ที่ 3 บ้านขุนสถาน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน และต่อมา ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2548 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มีคำสั่งให้นายฉัตรชัย โยธาวุธ เจ้าหน้าที่บริหารงานป่าไม้ 6 มาทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติขุนสถาน จนถึงปัจจุปัน
ขณะนี้อุทยานแห่งชาติขุนสถาน อยู่ในขั้นตอนการจัดพิมพ์แผนที่ท้ายร่างพระราชกฤษฏีกา เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ ซึ่งหากเห็นชอบ สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นำร่างขึ้นทูลเกล้าในหลวงเพื่อลงพระปรมาภิไธย ประกาศเป็นกฏหมายต่อไป
วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)